วันพุธที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2553

การดองกล้วยน้ำว้าแบบผ่าตามขวาง


การดองกล้วยน้ำว้าแบบผ่าตามยาว


การดองกล้วยน้ำว้าแบบทั้งลูก


กล้วยน้ำว้า



กล้วยน้ำว้า

7-30240-001-029/1






ชื่อพื้นเมือง กล้วยน้ำว้า
กล้วยกะลิอ่อง กล้วยมะนิอ่องมะลิ อ่อง (เงี้ยว ภาคเหนือ)
กล้วยไข่ กล้วยใต้ กล้วยส้ม
กล้วยหอม (ภาคเหนือ)
กล้วยนาก (กรุงเทพ)
กล้วยน้ำว้า กล้วยเล็บมือ
กล้วยหอมจันทร์
กล้วยหักมุก (ภาคกลาง)
เจก (เขมร จันทบุรี)
ยาไข่ สะกุย (กะเหรี่ยง จันทบุรี)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Musa sapientum L.
ชื่อวงศ์ MUSACEAE
ชื่อสามัญ Banana , Cultivated banana
ประโยชน์ ผลสุกกินได้เลยหยวก หยวกกล้วยใช้ทำอาหาร ใบใช้ห่อข้าวต้ม ห่อหมก
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
st1\:*{behavior:url(#ieooui) }
ลักษณะวิสัย เป็นไม้ล้มลุก มีความสูงประมาณ 5 เมตร ความกว้างทรงพุ่ม 3 เมตร รูปร่างทรงพุ่ม ทรงกระบอก ลำต้น เป็นลำต้นใต้ดิน เป็นแง่งหรือ เหง้า ใบ เป็นใบเดี่ยว ใบอ่อนสีเขียวอ่อน ใบแก่สีเขียวแก่ ขนาดแผ่นใบกว้าง 45 เซนติเมตร ยาว 118 เซนติเมตร ใบเขียวเป็นแผ่นยาว มียางใส ใบเรียงสลับ แผ่นใบรูปขอบขนาน ปลายใบเว้าบุ๋ม โคนใบรูปหัวใจ ขอบใบเรียบ ดอก ดอกห้อยย้อยลงมาเป็นช่อยาวเรียกว่า หัวปลี ผล เป็นผลสด ผลอ่อนสีเขียวอ่อน ผลแก่สีเขียวอมเหลือง ผลรูปรี

กล้วยน้ำว้า

เรื่องกล้วยน้ำว้า
รายวิชา คอมพิวเตอร์ ง 30201
จัดทำโดย
นายภควัตร ภูคำศักดิ์ เลขที่ 7
นางสาวชฎาภรณ์ ชนะนอก เลขที่ 16
นางสาวเมธาวี สาบไธสง เลขที่ 29
ชั้น ม4/1
เสนอ
อาจารย์ศิริพร วีระชัยรัตนา
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมาเขต 2

กล้วยน้ำว้า

กล้วยนำว้า

สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้

ชื่อพรรณไม้ กล้วยน้ำว้า รหัสพรรณไม้ 7-3240-001-029
สภาพนิเวศน์ อยู่บนบก กลางแจ้ง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ลักษณะวิสัย เป็นไม้ล้มลุก มีความสูงประมาณ 5 เมตร ความกว้างทรงพุ่ม 3 เมตร รูปร่างทรงพุ่ม ทรงกระบอก ลำต้น เป็นลำต้นใต้ดิน เป็นแง่งหรือเหง้า ใบ เป็นใบเดี่ยว ใบอ่อนสีเขียวอ่อน
ใบแก่สีเขียวแก่ ขนาดแผ่นใบกว้าง 45 เซนติเมตร ยาว 118 เซนติเมตร ใบเขียวเป็นแผ่นยาว มียางใส ใบเรียงสลับ แผ่นใบรูปขอบขนาน ปลายใบเว้าบุ๋ม โคนใบรูปหัวใจ ขอบใบเรียบ
ดอก ดอกห้อยย้อยลงมาเป็นช่อยาวเรียกว่า หัวปลี ผล เป็นผลสด ผลอ่อนสีเขียวอ่อน
ผลแก่สีเขียวอมเหลือง ผลรูปรี